วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11


วิชา  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education

อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา สุขสำราญ

ประจำวันจันทร์ ที่ ุ28 เดือนเมษายน พ.ศ.2560
เวลา 08:30-11:30 กลุ่มเรียน 101 ห้องเรียน 34-301

Learning  เรื่องที่เรียน

สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วย อาหารหลัก 5 หมู่ เรื่อง ประโยชน์



  • สงบเด็ก  ด้วยเพลง

ปลาหมึกหนวดยาว  หนวดยาวตัวขาวน่ารัก

เวลาหยุดพักชอบยักไหล่เล่น

ยักเช้า ยักเย็น ยักเล่นๆ

แล้วก็ยัก ยัก ยัก  ปลาหมึกผูกโบว์


หน่วย ยานพาหนะ




หน่วย สัตว์


หน่วยผักสดสะอาด






หน่วยกลางวันกลางคืน



หน่วยข้าว



Skills  ทักษะที่ได้รับ
  • การใช้เพลงในการเก็บเด็กหรือรวบรวมสมาธิในการจัดการเรียนรู้
  • การสร้างข้อตกลงและออกแบบการจัดการเรียนให้สอดคล้องตามเนื้อหา


Teaching Techniques  เทคนิคการสอน

  • การพูดคุยเจรจาแบบถามคำถามปลายเปิด
  • การโต้ตอบหาข้อสรุปในการจัดประสบการณ์


Applications in Life  การนำไปประยุกต์ใช้
  • การนำเพลงไปดัดแปลงและปรุยุกต์ใช้ให้เหมาะหน่วยหรือเรื่องที่สอน
  • การสร้างเทคนิคการสมธิหรือความสนใจในตัวเด็ก


Evaluation  การประเมิน
  • Teacher มีการพูดคุยโต้ตอบเพื่อหาข้อสรุปในเรื่องที่เรียน แต่งกายสุภาพ พูดจาไพเราะ 
  • Students แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเรียนทันเวลา ตั้งใจและร่วมตอบคำถามในการเรียน
  • classroom มีแสงพอเหมาะ บรรยากาศดี มีโต๊ะเก้าพอเหมาะกับนักเรียน



บันทึกอนุทินครั้งที่ 10


วิชา  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education

อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา สุขสำราญ
ประจำวันจันทร์ ที่ ุ24 เดือนเมษายน พ.ศ.2560
เวลา 08:30-11:30 กลุ่มเรียน 101 ห้องเรียน 34-301

Learning  เรื่องที่เรียน

สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์


                                                         กลุ่ม สัตว์น่ารัก
                                                         กลุ่ม ยานพาหนะ
                                                         กลุ่ม ผักสดสะอาด
                                                         กลุ่ม ข้าว
                                                         กลุ่ม ครอบครัว
                                                         กลุ่ม กลางวันกลางคืน







Skills  ทักษะที่ได้รับ


  • การใช้เพลงในการเก็บเด็กหรือรวบรวมสมาธิในการจัดการเรียนรู้
  • การสร้างข้อตกลงและออกแบบการจัดการเรียนให้สอดคล้องตามเนื้อหา

Teaching Techniques  เทคนิคการสอน


  • การพูดคุยเจรจาแบบถามคำถามปลายเปิด
  • การโต้ตอบหาข้อสรุปในการจัดประสบการณ์

Applications in Life  การนำไปประยุกต์ใช้

  • การนำเพลงไปดัดแปลงและปรุยุกต์ใช้ให้เหมาะหน่วยหรือเรื่องที่สอน
  • การสร้างเทคนิคการสมธิหรือความสนใจในตัวเด็ก

Evaluation  การประเมิน

  • Teacher มีการพูดคุยโต้ตอบเพื่อหาข้อสรุปในเรื่องที่เรียน แต่งกายสุภาพ พูดจาไพเราะ 
  • Students แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเรียนทันเวลา ตั้งใจและร่วมตอบคำถามในการเรียน
  • classroom มีแสงพอเหมาะ บรรยากาศดี มีโต๊ะเก้าพอเหมาะกับนักเรียน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9


วิชา  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education

อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา สุขสำราญ
ประจำวันจันทร์ ที่ ุ20 เดือนเมษายน พ.ศ.2560
เวลา 08:30-11:30 กลุ่มเรียน 101 ห้องเรียน 34-301

Learning  เรื่องที่เรียน

สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

                                                               กลุ่ม สัตว์น่ารัก
                                                               กลุ่ม ยานพาหนะ
                                                               กลุ่ม ผักสดสะอาด
                                                               กลุ่ม ข้าว
                                                               กลุ่ม ครอบครัว




Skills  ทักษะที่ได้รับ


  • การใช้เพลงในการเก็บเด็กหรือรวบรวมสมาธิในการจัดการเรียนรู้
  • การสร้างข้อตกลงและออกแบบการจัดการเรียนให้สอดคล้องตามเนื้อหา


Teaching Techniques  เทคนิคการสอน


  • การพูดคุยเจรจาแบบถามคำถามปลายเปิด
  • การโต้ตอบหาข้อสรุปในการจัดประสบการณ์


Applications in Life  การนำไปประยุกต์ใช้

  • การนำเพลงไปดัดแปลงและปรุยุกต์ใช้ให้เหมาะหน่วยหรือเรื่องที่สอน
  • การสร้างเทคนิคการสมธิหรือความสนใจในตัวเด็ก

Evaluation  การประเมิน

  • Teacher มีการพูดคุยโต้ตอบเพื่อหาข้อสรุปในเรื่องที่เรียน แต่งกายสุภาพ พูดจาไพเราะ 
  • Students แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเรียนทันเวลา ตั้งใจและร่วมตอบคำถามในการเรียน
  • classroom มีแสงพอเหมาะ บรรยากาศดี มีโต๊ะเก้าพอเหมาะกับนักเรียน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8


วิชา  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education

อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา สุขสำราญ
ประจำวันจันทร์ ที่ ุ27 เดือนมีนาคม พ.ศ.2560
เวลา 08:30-11:30 กลุ่มเรียน 101 ห้องเรียน 34-301

Learning  เรื่องที่เรียน

สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์วันจันทร์

หน่วยเรื่องดิน
หน่วยเรื่องนม
หน่วยเรื่องสัตว์
หน่วยเรื่องไข่






Skills  ทักษะที่ได้รับ


  • การออกแบบเนื้อหาการเรียนการสอน 
  • การสร้างแผนหรือออกแบบแผนการสอน

Teaching Techniques  เทคนิคการสอน


  • การพูดคุยหาข้อสรุปในหัวข้อหรือที่ออกแบบเนื้อหาที่สอดคล้องกัน
  • การถามตอบถึงรูปแบบแนวการสอนเด็กของแต่ละโรงเรียนที่ไปสังเกต

Applications in Life  การนำไปประยุกต์ใช้

  • เทคนิคการสอน ในการเก็บตัวหรือสร้างความสนใจในตัวผู้เรียน
  • เทคนิคการออกแบบรูปแบบการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหา

Evaluation  การประเมิน


  • Teacher  แต่งกายสุภาพ มาเรียนก่อนเวลา มีการเตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี มีการยกตัวอย่างให้ดู
  • Students มาเรียนช้ากว่าเวลาที่กำหนด แต่งกายสุภาพ ตั้งใจร่วมกิจกรรมดี
  • classroom ห้องเรียนสงบ มีแสงพอเหมาะ บรรยากาศดีเย็นสบาย

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7


วิชา  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education

อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา สุขสำราญ
ประจำวันจันทร์ ที่ ุ13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2560
เวลา 08:30-11:30 กลุ่มเรียน 101 ห้องเรียน 34-301

Learning  เรื่องที่เรียน

โทรทัศน์ครูโปรเจ็คเห็ด  สอนแบบโครงการ


การสอนโปรเจ็คสามารถนำไปสอนต่อปัญญาทั้ง 8 ด้านได้
ปัญญาทั้ง 8 ด้าน (พหุปัญญา)

1. ปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence)
คือ ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู้ เข้าใจภาษา และสามารถสื่อภาษาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตามที่ต้องการ 

2. ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence)
คือ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผล การคิดเชิงนามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ 

3. ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)
คือ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และตำแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอดแสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู้ในเรื่องทิศทาง

4. ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence)
คือ ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส 

5. ปัญญาด้านดนตรี (Musical Intelligence)
คือ ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจำ และการแต่งเพลง สามารถจดจำจังหวะ ทำนอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะ เล่นดนตรี และร้องเพลง 

6. ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence)
คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ทั้งด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน มีความไวในการสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้ำเสียง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพได้ง่าย เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผู้อื่นได้ดี เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคน 

7. ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)
คือ ความสามารถในการรู้จัก ตระหนักรู้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ต้องขอความช่วยเหลือ มองภาพตนเองตามความเป็นจริง รู้ถึงจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องของตนเอง ในขณะเดียวกันก็รู้ว่าตนมีจุดแข็ง หรือความสามารถในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตนของตนเองอย่างแท้จริง เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคนเช่นกัน เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีความสุข

8. ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence)
คือ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจกฎเกณฑ์ ปรากฏการณ์ และการรังสรรค์ต่างๆ ของธรรมชาติ มีความไวในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปของธรรมชาติ มีความสามารถในการจัดจำแนก แยกแยะประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ 

  • เรื่องที่จะสอนต้องดูด้วยว่า

-สอดคล้องกับตัวเด็กไหม
-ผู้ปกครองมีส่วนร่วมไหม
-ดูสิ่งแวดล้อม

  • ระยะแรก  ตอนสุดท้ายของระยะเตรียมการ คือ การตั้งประเด็นคำถาม
-เพื่อจะเอามาออกแบบกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
-เพื่อให้เด็กรู้คำตอบ
-ครูต้องให้เด็กมีส่วนร่วมกับการทำกิจกรรมทุกครั้ง


  • ระยะที่สอง  ระยะพัฒนา
-หาวิทยากร
-สานสัมพันธ์กับผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
-กิจกรรมโปรเจ็คไม่ใช่แค่เด็กเรียนแต่ในห้องเรียนแต่เด็กต้องเรียนนอกห้องเรียนด้วย
  • จัดระบบ
  1. เริ่มต้นทำอะไรบ้าง
  2. ระยะสรุปทำอะไรบ้าง
สิ่งสำคัญที่สุด คือ ครูคือผู้อำนวยความสะดวกไม่ใช่ผู้ถ่ายทอดความรู้

-ในโปรเจ็คต้องมีกราฟฟิกเข้าไปสอดแทรก

  • สาธิตการสอนเสริมประสบการณ์

ขั้นนำ     - ใช้คำคล้องจอง    

               -  ถามประสบการณ์เดิมของเด็ก  แล้วบันทึกลงแผ่นชาร์จ

ขั้นสอน  - นำสิ่งของใส่ตะกร้า โดยใช้คำถามให้เด็กทายว่ามีอะไรอยู่ในตะกร้าบ้าง
              -  หยิบสิ่งของทีละชิ้นพร้อมบอกชื่อและนับจำนวน ติดตัวเลขกำกับไว้สิ่งของชิ้นสุดท้าย
              -  ครูและเด็กแยกเกณฑ์และนับจำนวนว่าอันไหนมากกว่าหรือน้อยกว่ากัน

ขั้นสรุป  - ทบทวนอีกครั้งว่าสิ่งของอันไหนมากกว่าและน้อยกว่ากัน







นิทานกับดักหนู






Skills  ทักษะที่ได้รับ

  • รูปแบบหรือแนววิธีการจัดการเรียนรู้
  • วิธีการเรียนรู้ของเล่น


Teaching Techniques  เทคนิคการสอน

              -อาจารย์พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่ไปสังเกตเด็กของแต่ละโรงเรียน
              -อาจารย์บอกเทคนิคของกิจกรรมต่างๆ
              -ทำมายแมปปิ้งรูปแบบ
              -เขียนตารางกิจวัตรประจำวันของแต่ละคน

Applications in Life  การนำไปประยุกต์ใช้

  • นำแนวทางไปเป็นแบบอย่างในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
  • การสร้างเทคนิคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

Evaluation  การประเมิน

  • Teacher     แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาสอนก่อนเวลา มีการอธิบายและบรรยายเทคนิคการจักการเรียนการสอน
  • Students   แต่งกายสุภาพเรียนร้อย ตั้งใจเรียน มีการตอบคำถามสนทนาเพื่อแก้ข้อสงสัยและปัญหาร่วมกัน
  • classroom  ห้องเรียนเงียบสงบ มีแสงพอเหมาะ อากาศเย็นสบาย มีโต๊ะเก้าอี้ที่พอเหมาะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


วิชา  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education

อาจารย์ผู้สอน ดร.จินตนา สุขสำราญ
ประจำวันจันทร์ ที่ 6 เดือนมีนาคม พ.ศ.2560
เวลา 08:30-11:30 กลุ่มเรียน 101 ห้องเรียน 34-301

Learning  เรื่องที่เรียน

สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ของแต่ละกลุ่ม

                                                               กลุ่ม สัตว์น่ารัก
                                                               กลุ่ม ยานพาหนะ
                                                               กลุ่ม ผักสดสะอาด
                                                               กลุ่ม ข้าว
                                                               กลุ่ม ครอบครัว



  • เคลื่อนไหวพื้นฐาน
-การหาบริเวณและพื้นที่โดยการกางแขนออก เป็นต้น
  • วิธีเขียนแผน ควรเขียนให้มีเทคนิคที่หลากหลายของแต่ละอาทิตย์
  • ถ้าชั้นเตรียมอนุบาล-อนุบาล 1 เน้น ข้อตกลง
  • ถ้าชั้นอนุบาล 2 - อนุบาล 3 ไม่ต้องเน้นข้อตกลง
กิจกรรมการเรียนรู้แบบ BBL
BBL (Brain-based Learning) คือ การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของสมองแต่ละช่วงวัย เป็นการนำองค์ความรู้เรื่องสมองมาใช้เป็นฐานในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ โดยมีที่มาจากศาสตร์
การเรียนรู้ 2 สาขา คือ
- ความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์
- แนวคิด ทฤษฎีการเรียน
การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้แบบ BBL

1. จัดตกแต่งห้องเรียนให้มีสีเขียว เหลือง เป็นส่วนใหญ่
2. ห้องเรียนและบริเวณรอบๆ ห้องเรียนมีต้นไม้ร่มรื่น
3. จัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมกัน กระตุ้นการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
4. จัดให้มีสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆ อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย
5. จัดให้มีการเรียนรู้จากของจริง ประสบการณ์ตรงโดยผ่านประสาททั้ง 5 (การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การได้ชิม การสัมผัส)

Skills  ทักษะที่ได้รับ


  • รูปแบบหรือแนววิธีการจัดการเรียนรู้
  • วิธีการเรียนรู้ของเล่น


Teaching Techniques  เทคนิคการสอน


              -อาจารย์พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่ไปสังเกตเด็กของแต่ละโรงเรียน
              -อาจารย์บอกเทคนิคของกิจกรรมต่างๆ
              -ทำมายแมปปิ้งรูปแบบ
              -เขียนตารางกิจวัตรประจำวันของแต่ละคน

Applications in Life  การนำไปประยุกต์ใช้


  • นำแนวทางไปเป็นแบบอย่างในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
  • การสร้างเทคนิคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

Evaluation  การประเมิน

  • Teacher     แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาสอนก่อนเวลา มีการอธิบายและบรรยายเทคนิคการจักการเรียนการสอน
  • Students   แต่งกายสุภาพเรียนร้อย ตั้งใจเรียน มีการตอบคำถามสนทนาเพื่อแก้ข้อสงสัยและปัญหาร่วมกัน
  • classroom  ห้องเรียนเงียบสงบ มีแสงพอเหมาะ อากาศเย็นสบาย มีโต๊ะเก้าอี้ที่พอเหมาะ